PA Thailand (Physical Activity Thailand)

โครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการส่งเสริมให้คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น

ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อร่วมสรุปผลงานการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ7 กุมภาพันธ์ 2563
7
กุมภาพันธ์ 2563รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อร่วมสรุปผลงานการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ
วันศุกร์ที 7 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 09.30–16.30 น. ณ ห้องประชุม 201 อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กรุงเทพมหานคร กำหนดการ
- 09.30-09.45 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการประชุม
โดย สำนักสร้างเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ (สำนัก5) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) - 09.45-10.00 น. กระบวนการถอดบทเรียน “พื้นที่สุขภาวะ” โดยใช้ Timeline โดย ผศ.ดร.ภก.พงศ์เทพ สุธีรวุฒิ ผอ.สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์ และดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รอง ผอ.สถาบันการจัดการระบบสุขภาพม.สงขลานครินทร์ (สจรส.ม.อ.) - 10.00–12.00 น. เสนอ Timeline งานที่ทำไป ผลที่ได้มา(ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นในการดำเนินงานของโครงการ) เสนอโดย 8 เครือข่าย / นำกระบวนการพูดคุยโดย สจรส.ม.อ. - 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน - 13.00–15.30 น. ภาพอนาคต “พื้นที่สุขภาวะ” ของประเทศไทย และแนวทางการขับเคลื่อน เสนอโดย 8 เครือข่าย / นำกระบวนการพูดคุยโดย สจรส.ม.อ. - 15.30 – 16.30 น. สรุปผลการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ
โดย สสส. และ เครือข่าย /นำกระบวนการพูดคุยโดย สจรส.ม.อ.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อถอดบทเรียน ชุดความรู้ นวัตกรรม ศักยภาพของคนและเครือข่าย จุดเด่นของพื้นที่ต้นแบบ
และการยกระดับผลในพื้นที่และนโยบาย
2. เพื่อร่วมกันกำหนดภาพอนาคตและแนวทางการดำเนินงาน “พื้นที่สุขภาวะ” ของประเทศไทย

สรุป ข้อมูล Workshop พื้นที่สุขภาวะ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ดังนี้

  1. ชุดความรู้
    1.1 ชุดความรู้ Data base/Plat form
    1.2 ชุดความรู้กระบวนการมีส่วนร่วม 1.3 ชุดความรู้พัฒนาคน 1.4 ชุดความรู้การออกแบบสภาพแวดล้อม
    1.5 ชุดความรู้เชิงประเด็น “การเดิน-จักรยาน”

  2. ศักยภาพคนและเครือข่าย
    2.1 คน 2.2 คณะทำงาน 2.3 ชุมชน 2.4 เครือข่าย 2.5 ถอดบทเรียน/บริหารยกระดับ

  3. พื้นที่ต้นแบบ
    3.1 พื้นที่ต้นแบบทางกาย 3.2 พื้นที่ต้นแบบทางจิต 3.3 พื้นที่ต้นแบบทางสังคม 3.4 พื้นที่ผสมผสาน (กาย จิต สังคม ปัญญา)

  4. นโยบายสาธารณะ
    4.1 นโยบายชุมชน/ท้องถิ่น 4.2 นโยบายเอกชน 4.3 นโยบายระดับชาติ 4.4 การบูรณาการ ระหว่างชุมชน/ท้องถิ่น/เอกชน/ระดับชาติ

  5. สุขภาวะ
    5.1 กาย 5.2 จิต 5.3 สังคม
    5.4 ปัญญา