PA Thailand (Physical Activity Thailand)

directions_run

โครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการส่งเสริมให้คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 พัฒนาคุณภาพของโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่าย แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยดำเนินการร่วมกับเครือข่าย แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และขยายพื้นที่ดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ในการพัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการของเครือข่าย
ตัวชี้วัด : 1. ได้คู่มือการพัฒนา ติดตามประเมินผลโครงการ เพื่อใช้สนับสนุนการพัฒนาโครงการของแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2. ได้เอกสารชุดการสังเคราะห์ความรู้และประสบการณ์การขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 3. เกิดการสื่อสารเรื่องกิจกรรมทางกาย ขยายเผยแพร่สู่สาธารณะในวงกว้างของสังคม นำไปสู่การรับรู้ เข้าใจ และมีความตระหนักต่อการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในชีวิตประจำวัน 4. ได้ข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ที่สอดคล้องแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และเป็นโครงการที่มีคุณภาพ ร้อยละ 90 5. ได้ระบบสารสนเทศ online ที่ใช้ในการพัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 6. เครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพที่มีความรอบรู้มีขีดความสามารถด้านสุขภาพประเด็นกิจกรรม ทางกาย (Health Literacy - PA) ได้แก่ เครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล (ท้องถิ่น สปสช.) 270 กองทุน และภาคีเครือข่ายแผนกิจกรรมทางกาย สสส. 7. ผู้เสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ร้อยละ 100 ได้รับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพด้านการเขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผล และนำความรู้ไปปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8. เกิดข้อเสนอโครงการ 100 โครงการที่มีคุณภาพ ในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และเครือข่ายแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สสส. 9. เกิดพื้นที่สุขภาวะต้นแบบในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ อย่างน้อย 4 พื้นที่ 10. กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ มีแผนและโครงการ ครอบคลุมเรื่องกิจกรรม ทางกายและอาหารจำนวน 270 กองทุน
0.00

 

2 ขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพครั้งที่ 10 วาระ การส่งเสริมให้คนไทยทุกช่วงวัยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นสู่การปฏิบัติ โดยมีการดำเนินการร่วมกับหน่วยงาน ภาคีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับมติ
ตัวชี้วัด : 1. ได้ข้อมูลความคุ้มทุนทางเศรษฐศาสตร์การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2. เกิดต้นแบบการมีกิจกรรมทางกาย อย่างน้อย 2 พื้นที่ 3. เกิดนโยบาย แผน และโครงการกิจกรรมทางกาย ในกลุ่มคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน (กขป.) เครือข่ายสมัชชาจังหวัด คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) กับ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) -
วัยรุ่น (13-15 ปี) -
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน -
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาคุณภาพของโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่าย แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยดำเนินการร่วมกับเครือข่าย แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และขยายพื้นที่ดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ในการพัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการของเครือข่าย (2) ขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพครั้งที่ 10 วาระ การส่งเสริมให้คนไทยทุกช่วงวัยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นสู่การปฏิบัติ โดยมีการดำเนินการร่วมกับหน่วยงาน ภาคีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับมติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (2) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 (3) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 (4) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 (5) ประชุม คู่มือพัฒนาโครงการฯ (สจรส.มอ.) (6) ประชุมคู่มือพัฒนาโครงการฯ / วางแผนเวทีมหกรรมสุขภาพ (สจรส.มอ.) (7) ประชุมคู่มือพัฒนาโครงการฯ และเว็บไซต์ PA (สจรส.มอ.) (8) ประชุมวางแผนเศรษฐศาสตร์ PA และวางแผนเว็บไซต์ (สจรส.มอ.) (9) ประชุมเศรษฐศาสตร์กิจกรรมทางกาย (PA) กับคณะเศรษฐศาสตร์ ม.อ. (สจรส.มอ.) (10) สรุปประชุมแกนประสานพี่เลี้ยง (เหนือ กลาง อีสาน ใต้) (กรุงเทพ) (11) ประชุม เศรษฐศาสตร์กิจกรรมทางกาย (PA) (สจรส.มอ.) (12) ประชุมวางแผน PA เตรียมงานมหกรรสุขภาพ (สจรส.มอ.) (13) ประชุมความก้าวหน้าเศรษฐศาสตร์ PA (สจรส.มอ.) (14) การประชุมวางแผนและติดตาม มติสมัชชาข้อ 3 สถาปนิค (สช.กรุงเทพฯ) (15) ประชุมติดตามความก้าวหน้าหน้าพี่เลี้ยง 4 ภาค (กรุงเทพฯ) (16) มหกรรมสานพลังสร้างสุข"โฮมสุขอีสาน" (จ.ขอนแก่น) (17) วางแผนและคุยเว็บ PA สสส. (18) ประชุมคณะทำงาน สจรส.มอ. (สจรส.มอ.) (19) การประชุมวางแผนการทำงาน รพสต.กับกองทุนตำบล การวางแผนขับเคลื่อนคลินิกพัฒนาโครงการ (สนง.สสส.กรุงเทพฯ) (20) ประชุมถอดบทเรียน PA (จ.เชียงใหม่) (21) ประชุมเศรษฐศาสตร์ PA (สจรส.มอ.) (22) ประชุมวางแผนเว็บ PAthailand (23) พัฒนาโครงการ PA ประเภทนวัตกรรมฯ PA สสส. (ม.จุฬาฯ กรุงเทพฯ) (24) รายงานความก้าวหน้า proposal โครงการกองทุนตำบลฯ พชอ.77จังหวัด (สนง.สสส.กรุงเทพฯ) (25) ประชุมเตรียมประเด็นโครงร่างเศรษฐศาสตร์ PA (26) ประชุมเศรษฐศาสตร์ PA ที่ สสส. กรุงเทพ (27) ประชุมทีม สธ. สปสช. สสส. คุย proposal โครงการบูรณาการกลไก 77 พชอ. (28) ประชุมเศรษฐศาสตร์ PA ที่ สสส. กรุงเทพ (29) ประชุมติดตามความก้าวหน้ามติสมัชชา PA (30) ประชุมปรึกษาหารือแนวทางการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพฯ กรณี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (31) ประชุมพี่เลี้ยงกองทุน 12 เขต ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี (32) ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ ณ มหาลัยกีฬาแห่งชาติ จ.อ่างทอง (33) ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ ณ โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น (34) ประชุมแกนนำพี่เลี้ยงกองทุนฯ 12 เขต (35) ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ ม.นเรศวร จ.พิษณุโลก (36) ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ จ.นครศรีธรรมราช (37) ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ สมุทรสาคร (38) ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ กทม.กับภาคตะวันออก ณ ศูนย์กีฬาจุฬาฯ (39) การประชุมพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน (พี่เลี้ยงกองทุน) เพื่อการหนุนเสริมผู้เสนอโครงการ (40) การประชุมพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน (พี่เลี้ยงกองทุน) เพื่อการหนุนเสริมผู้เสนอโครงการภาคใต้ ณ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์ (41) ประชุมเตรียมประเด็นการนำเสนอ PA ในงานความก้าวหน้ามติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 12 (42) ประชุมพี่เลี้ยง วางแผนกับพื้นที่ทำงาน (43) ประชุมเชิงปฏิบัติการคลินิคพัฒนาโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่าย (44) ประชุมสรุปรายงานความก้าวหน้ามติ PA ในงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ (45) ประชุมพัฒนาโครงการ จัดทำแผนกองทุนตำบล จ.สระแก้ว (46) ประชุมทำแผนกองทุน พัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการ จ.มุกดาหาร (47) ประชุมหารือเตรียมworkshopงานพื้นที่สุขภาวะ และหารือเรื่องตัวชี้วัดแผน PA (48) ประชุมทำแผนกองทุน พัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการ จ.ระยอง (49) การประชุมความก้าวหน้าประเมินความคุ้มทุนเศรษฐศาสตร์ PA (50) การอบรมเสริมทักษะการบริหารจัดการ แผนงาน/โครงการ ด้านการเงิน การบัญชี และพัสดุ  ปี 2563 (51) ประชุมวางแผนตัวชี้วัด PA สสส. (52) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อร่วมสรุปผลงานการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ (53) เข้าร่วมประชุมสรุปถอดบทเรียน โครงการส่งเสริมนวัตกรรมฯ ณ จ.สมุทรสงคราม (54) ประชุมเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เขต 12 (55) ประชุมเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เขต 7,8,9,10 (56) ประชุมจัดทำสื่อวีดีทัศน์เผยแพร่ แนะนำเรื่องการจัดทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามโครงการ ผ่านระบบเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล (57) ประชุมออนไลน์ด้วยระบบ  ZOOM กับพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล 4 ภาค เพื่อวางแผนและติดตามความก้าวหน้าของโครงการ (58) ประชุมทีมติดตามเว็บกองทุนสุขภาพตำบล (59) ประชุมคณะทำงานวิชาการ สจรส.ม.อ. (60) ประชุมทีมกองทุนตำบลฯ เขต 5 (61) ประชุม ZOOM กับพี่เลี้ยงกองทุนตำบลฯ 4 ภาค (62) ประชุมทีมกองทุนตำบลฯ เขต 7,8,9 ที่ จ.ขอนแก่น (63) ประชุมออนไลน์ ZOOM วางแผนงานกองทุนสุขภาพตำบล 12 เขต (64) ประชุมการวิเคราะห์ข้อมูลเว็บ PA (65) ประชุมรายงานความก้าวหน้าการประเมินความคุ้มทุนทางเศรษฐศาสตร์กิจกรรมทางกาย (66) ประชุมเตรียมนำเสนอการสังเคราะห์ข้อมูลกิจกรรมทางกาย เว็บ PA (67) การประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปบทเรียนในการพัฒนาโครงการ และติดตามประเมินผลผ่านระบบออนไลน์ https://www.pathailand.com (68) นำเสนอผลการศึกษา เศรษฐศาสตร์กิจกรรมทางกาย (69) ประชุมเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh