PA Thailand (Physical Activity Thailand)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
50.00 80.00 0.00

นักเรียนได้มีการเคลื่อนไหวร่างกายได้มากขึ้น และได้รับการเรียนการสอนโดยใช้ Physical Activity

-

การจัดการเรียนการสอนทั้ง8กลุ่มสาระ ได้จัดกิจกรรมเพื่อให้นักเรียนได้เคลื่อนไหนทางกาย Physical Activity ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข และทำให้นักเรียนได้รับความรู้ที่คงทนถาวร

2 เพิ่มเวลาการเรียนรู้แบบกระฉับกระเฉงในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเวลาเรียนในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็กที่จัดการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active-play Active-learning)
50.00 80.00

นักเรียนมีความกระตือรือร้นมากกว่าเดิม และเกิดความพยายามในการทำกิจกรรมอยู่เสมอ

-

นักเรียนมีความกระฉับกระเฉงในการเรียนเพิ่มมากขึ้นกว่าเดิม

3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
50.00 80.00

นักเรียนได้รับการทดสอบสมรรถภาพทางกาย เพื่อให้ได้รับรู้ถึงความสามารถทางด้านร่างกายของตนเอง และใช้งานร่างกายของตนเองได้อย่างถูกต้องและเกิดประโยชน์ต่อตนเองมากที่สุด

-

นักเรียนมีความรู้ในการทดสอบสมรรถภาพทางกายและสามารถทำการทดสอบสมรรถภาทางกายให้กับผู้อื่นได้ และรู้ถึงการปรับปรุงตนเอง/พัฒนาตนเอง ให้สามารถทำการทดสอบสมรรถภาพได้ดีขึ้น/อยู่ในเกณฑ์ปกติ