PA Thailand (Physical Activity Thailand)

directions_run

โครงการพัฒนาเครือข่ายการจัดกิจกรรม Active Play ในโรงเรียนประถมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ


“ โครงการพัฒนาเครือข่ายการจัดกิจกรรม Active Play ในโรงเรียนประถมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ”

อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

หัวหน้าโครงการ
นาย อินทร์ตรอง นิตยโรจน์

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาเครือข่ายการจัดกิจกรรม Active Play ในโรงเรียนประถมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ที่อยู่ อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น

รหัสโครงการ 011 เลขที่ข้อตกลง 011

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2019 ถึง 31 ตุลาคม 2019


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาเครือข่ายการจัดกิจกรรม Active Play ในโรงเรียนประถมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแก่น" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาเครือข่ายการจัดกิจกรรม Active Play ในโรงเรียนประถมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มจำนวนเด็กและวัยรุ่น (อายุ 5-17 ปี)ที่ออกกำลังกายในชุมชน (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (3) .เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาการเรียนรู้ (4) การสร้างจิตอาสาให้เกิดขึ้นในกลุ่มนักเรียน เช่นการดูแลความสะอาดของโรงเรียน ห้องเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในการตรวจแผนการสอน (2) ประชุมจัดทำแผนการเรียนรู้ (3) ทดลองใช้แผนการจัดการเรียนรู้ (4) สรุปแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดำเนินการสอนได้ (5) การดำเนินการจัดทำพื้นที่เอื้อต่อการพัฒนาการเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันเด็กไทยจะมีพฤติกรรมเสี่ยงและเนือยนิ่งเพิ่มขึ้นซึ่งจะเป็นผลเสียต่อการพัฒนาสุขภาพทุก ๆด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกายจิตใจอารมณ์ สังคม และสติปัญญานับเป็นความสำคัญในการที่ผู้ปกครองและโรงเรียนต้องเอาใจใส่ต่อเด็กเพื่อการพัฒนาคุณภาพของเด็กไทยในอนาคตและอีกประการหนึ่งยังมีผู้ปกครองจำนวนไม่น้อยที่ส่งเสริมลูกในทางที่ผิดอาทิ การห้ามลูกเล่นกีฬาเพราะจะทำให้การเรียนเสียซึ่งสิ่งนี้จะเป็นการขัดขวางพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กที่ควรจะพัฒนาตามทฤษฎีการเรียนรู้ของBloom 3 ด้านคือด้านพฤตินัย (Cognitive Domain)ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)และด้านจิตพิสัย (AffectiveDomain)ซึ่งพฤติกรรมการเรียนรู้นี้จะพัฒนาได้ดีต้องได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีในการดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาในโรงเรียนดังนั้นจึงเป็นความสำคัญอย่างยิ่งที่ทางโรงเรียนและผู้ปกครองจะต้องทำความเข้าใจในการช่วยกันพัฒนาเด็กไทยให้มีคุณภาพต่อไป
เหตุใดจึงคิดทำโครงการนี้
การเรียนการสอนในโรงเรียนประกอบด้วย 8 กลุ่มสาระซึ่งการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวเด็กได้มีพฤติกรรมไม่เนือยนิ่งจะอยู่ในสาระสุขศึกษาและพลศึกษานอกนั้นจะเป็นพฤติกรรมที่อยู่ในชั้นเรียนและเด็กนักเรียนจะมีพฤติกรรมเนือยนิ่งเป็นส่วนใหญ่ในสาระ 7 กลุ่มสาระเนื่องจากกิจกรรมการเรียนการสอนส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมนั่งอยู่ในชั้นเรียนดังนั้นเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้มีพฤติกรรมการเคลื่อนไหวและเคลื่อนที่ในการเรียนการสอนเพิ่มขึ้นจึงมีความจำเป็นในการส่งเสริมให้ทุกกลุ่มสาระให้มีการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนให้นักเรียนมีกิจกรรมการเคลื่อนไหว เคลื่อนที่เพิ่มขึ้นและควรจะดำเนินการอย่างต่อเนื่องทุกชั้นเรียนและควรจัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนทั้ง 3 ด้านของ Bloom sTaxonomy of Learning จึงเป็นเหตุผลที่ควรจัดทำโครงการนี้ขึ้นในโรงเรียนระดับประถมศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มจำนวนเด็กและวัยรุ่น (อายุ 5-17 ปี)ที่ออกกำลังกายในชุมชน
  2. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  3. .เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาการเรียนรู้
  4. การสร้างจิตอาสาให้เกิดขึ้นในกลุ่มนักเรียน เช่นการดูแลความสะอาดของโรงเรียน ห้องเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในการตรวจแผนการสอน
  2. ประชุมจัดทำแผนการเรียนรู้
  3. ทดลองใช้แผนการจัดการเรียนรู้
  4. สรุปแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดำเนินการสอนได้
  5. การดำเนินการจัดทำพื้นที่เอื้อต่อการพัฒนาการเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี) 1,000
วัยรุ่น (13-15 ปี) 1,000
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในการตรวจแผนการสอน

วันที่ 22 มีนาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมการดำเนินการจัดทแผนการจัดการเรียนการสอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

 

10 0

2. ประชุมจัดทำแผนการเรียนรู้

วันที่ 22 มีนาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

ประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการจัดการเรียนรู้

 

80 0

3. ทดลองใช้แผนการจัดการเรียนรู้

วันที่ 22 มีนาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

การสอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมPA

 

0 0

4. สรุปแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดำเนินการสอนได้

วันที่ 22 มีนาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมสรุปแผน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับสมบูรณ์

 

0 0

5. การดำเนินการจัดทำพื้นที่เอื้อต่อการพัฒนาการเรียนรู้

วันที่ 22 มีนาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการสอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมการสอนโดเน้นกระบวนกิจกรรมทางกาย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มจำนวนเด็กและวัยรุ่น (อายุ 5-17 ปี)ที่ออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่น (อายุ 5-17 ปี) ในชุมชนที่ออกกำลังกาย
60.00 80.00 90.00

เด็กออกกำลังการเพิ่มขึ้น 90คน

2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
60.00 80.00

 

3 .เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาการเรียนรู้
ตัวชี้วัด : จำนวนสิ่งแวดล้อมโรงเรียนละ 1พื้นที่จำนวน 8 พื้นที่
60.00 80.00

 

4 การสร้างจิตอาสาให้เกิดขึ้นในกลุ่มนักเรียน เช่นการดูแลความสะอาดของโรงเรียน ห้องเรียน
ตัวชี้วัด : จำนวนนักเรีนที่มีจิตอาสา
60.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) 1,000
วัยรุ่น (13-15 ปี) 1,000
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน -
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มจำนวนเด็กและวัยรุ่น (อายุ 5-17 ปี)ที่ออกกำลังกายในชุมชน (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (3) .เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาการเรียนรู้ (4) การสร้างจิตอาสาให้เกิดขึ้นในกลุ่มนักเรียน เช่นการดูแลความสะอาดของโรงเรียน ห้องเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในการตรวจแผนการสอน (2) ประชุมจัดทำแผนการเรียนรู้ (3) ทดลองใช้แผนการจัดการเรียนรู้ (4) สรุปแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดำเนินการสอนได้ (5) การดำเนินการจัดทำพื้นที่เอื้อต่อการพัฒนาการเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาเครือข่ายการจัดกิจกรรม Active Play ในโรงเรียนประถมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัด ขอนแก่น

รหัสโครงการ 011

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นาย อินทร์ตรอง นิตยโรจน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด