PA Thailand (Physical Activity Thailand)

directions_run

ลดการใช้โทรศัพท์เพิ่มการขยับและออกกำลังกาย โรงเรียนวัดวิหารเบิก (กาญจนานุกูล) จังหวัดพัทลุง

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ลดการใช้โทรศัพท์เพิ่มการขยับและออกกำลังกาย โรงเรียนวัดวิหารเบิก (กาญจนานุกูล) จังหวัดพัทลุง
ภายใต้โครงการ โครงการเพื่อส่งเสริมนวัตกรรมกิจกรรมทางกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ (ประเภทเปิดรับทั่วไป)
ภายใต้องค์กร สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ
เลขที่ข้อตกลง ุ61-ต.06
รหัสโครงการ 61-ต.06
วันที่อนุมัติ 19 กรกฎาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กรกฎาคม 2562 - 23 ธันวาคม 2562
งบประมาณ 40,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนวัดวิหารเบิก (กาญจนานุกูล)
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย ชัยยา ชูจันทร์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0994028317
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.6244674814663,100.14219926499place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ส.ค. 2562 31 ต.ค. 2562 1 ส.ค. 2562 31 ต.ค. 2562 32,000.00
2 1 พ.ย. 2562 16 ธ.ค. 2562 8,000.00
รวมงบประมาณ 40,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กปฐมวัย อายุก่อน 5 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (วันละอย่างน้อย 2 ชั่วโมง ทุกวันใน 1 สัปดาห์)
50.00
2 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน ทุกวันใน 1 สัปดาห์)
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยความเจริญก้าวหน้าของโลกยุคปัจจุบันที่มีเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันมากขึ้นส่งผลให้เด็กที่ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่กับโทรศัพท์สมาร์ทโฟน หรือ แท็บเล็ตวันละหลายๆชั่วโมงติดต่อกัน จนส่งผลกระทบต่อกิจวัตรประจำวัน พัฒนาการของเด็กจนทำให้เด็กไม่เห็นความสำคัญของการเรียนปฏิเสธที่จะทำการบ้านเล่นเกมส์ดูคลิปยูทูป หรือแท็ปเล็ตมากจนเกินไปสิ่งเหล่านี้มีผลกระทบต่อพัฒนาการของเด็ก เมื่อเด็กจำนวนมากติดโทรศัพท์มือถือจนมีกระทบต่อการเรียน และ พัฒนาการของเด็กทางด้านร่างกาย และจิตใจการสร้างกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสุขกายและสุขภาพจิตที่ดีให้เด็กได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ห่างไกลจากโทรศัพท์มือถือสามารถช่วยเด็กได้กลับมาใช้ชีวิตที่ดีขึ้น จากสภาพปัญหาการใช้โทรศัพท์มือถือของนักเรียนโรงเรียนวัดวิหารเบิก (กาญจนานุกูล)

จากการสำรวจข้อมูลพบว่านักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นมีโทรศัพท์มือถือร้อยละ80พกพาโทรศัพท์มือถือมาโรงเรียนและใช้เวลากับการเล่นโทรศัพท์มือถือในกิจกรรมยามว่างช่วงพักกลางวันหลังเลิกเรียนและในชั่วโมงเรียน ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้ใช้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในการเรียนโดยนักเรียนไม่สามารถแยกแยะเวลาที่เหมาะสมในการใช้โทรศัพท์ส่งผลต่อการเรียนการพักผ่อนในช่วงเวลากลางคืนใช้เวลากับการใช้โทรศัพท์มือถือมากเกินไปส่งผลกระทบต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิตและการเรียนส่วนนักเรียนในระดับประถมศึกษาจะใช้เวลาในการเล่นโทรศัพท์มือถือในช่วงตอนเย็นและกลางคืนซึ่งส่งผลกระทบต่อความรับผิดชอบในการเรียนผลกระทบที่สำคัญด้านสุขภาพกาย คือมีนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 29.41

โรงเรียนวัดวิหารเบิกจึงวางแผนจัดทำโครงการเพื่อเพิ่มการขยับและออกกำลังกาย ในเวลาว่างทดแทนการเล่นสมาร์ทโฟน โดยเลือกเป็นกิจกรรมการเล่นที่มีกิจกรรมทางกาย (Active Play) นอกจากนั้นยังวางแผนส่งเสริมสุขภาพของชุมชนโดยให้โรงเรียนเป็นศูนย์กลางการออกกำลังกายในเวลาเย็นอีกด้วย จากปัญหาการใช้โทรศัพท์มือถือมากจนเกินไปทำให้เกิดผลเสียต่อการเรียนและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของนักเรียนอีกทั้งสุขภาพที่ไม่ได้รับการพักผ่อนที่เพียงพอการใช้สายตามากเกินไปกับการเล่นโทรศัพท์มือถือนอกจากนี้ยังเป็นการสุ่มเสี่ยงในการใช้มือถือในการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเล่นเกมมากจนเกินไปใช้เวลาหมกมุ่นอยู่กับโทรศัพท์มือถือจนลืมใส่ใจต่อสุขภาพกายสุขภาพจิตการเรียนของตนเองและความรับผิดชอบในงานหน้าที่ต่างๆ เพื่อเป็นการลดการใช้โทรศัพท์มือถือนักเรียนเกิดภาวะอ้วน โรงเรียนจึงสร้างกิจกรรมให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตอีกทั้งยังช่วยให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ลดการใช้โทรศัพท์มือถือ หันมาเสริมสร้างสุขนิสัยที่ดีต่อสุขภาพด้วยการออกกำลังกายผ่านการเล่นที่มีกิจกรรมทางกาย (Active Play) ให้มากขึ้นทั้งช่วงเวลาเช้าพักกลางวันและตอนเย็นหลังเลิกเรียนโดยเพิ่มการขยับและออกกำลังกายให้มากขึ้นอีกทั้งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีบทบาทในการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีของนักเรียนภายใต้ความร่วมมือจากทุกภาคส่

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

50.00 80.00
2 เพื่อลดการใช้โทรศัพท์มือถือในโรงเรียน

 

50.00 10.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 177 227
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) 0
วัยเรียน (6-12 ปี) 100 98
วัยรุ่น (13-15 ปี) 40 40
เยาวชน (15-20 ปี) 20 24
วัยทำงาน 17 50
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 15
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 697 39,965.00 8 39,965.00
18 - 19 ก.ค. 62 กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพก่อนเริ่มโครงการ 68 1,000.00 1,000.00
19 ก.ค. 62 ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ 70 430.00 430.00
22 - 26 ก.ค. 62 กิจกรรมวิหารเบิกลีกซ์ 95 7,125.00 7,125.00
2 ส.ค. 62 อบรมให้ความรู้ 85 3,125.00 3,125.00
2 ก.ย. 62 - 13 ธ.ค. 62 กิจกรรมขยับและออกกำลังกาย โดยการเล่นที่มีกิจกรรมทางกาย (Active Play) 127 11,635.00 11,635.00
30 ก.ย. 62 กิจกรรมการละเล่นพื้นบ้าน 90 6,750.00 6,750.00
15 พ.ย. 62 กิจกรรมแรลลี่ ปั่น เดิน วิ่ง เพื่อสุขภาพ 92 8,900.00 8,900.00
19 - 20 ธ.ค. 62 กิจกรรมการทดสอบสมารถภาพทางกาย สิ้นสุดโครงการ 70 1,000.00 1,000.00
??/??/???? 0 0.00 -

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 เม.ย. 2562 09:43 น.