PA Thailand (Physical Activity Thailand)

directions_run

โครงการกายใจ สดใส แข็งแรง โรงเรียนบ้านหนองกุลา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ


“ โครงการกายใจ สดใส แข็งแรง โรงเรียนบ้านหนองกุลา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก ”

โรงเรียนบ้านหนองกุลา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก

หัวหน้าโครงการ
นาง วรรณรักษ์ หงษ์ทอง

ชื่อโครงการ โครงการกายใจ สดใส แข็งแรง โรงเรียนบ้านหนองกุลา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านหนองกุลา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัด พิษณุโลก

รหัสโครงการ 61-น.10 เลขที่ข้อตกลง 61-น.10

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มิถุนายน 2019 ถึง 16 ธันวาคม 2019


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกายใจ สดใส แข็งแรง โรงเรียนบ้านหนองกุลา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านหนองกุลา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกายใจ สดใส แข็งแรง โรงเรียนบ้านหนองกุลา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพิ่มเวลาการเรียนรู้แบบกระฉับกระเฉงในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงให้คณะครูทราบ (2) ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะครูและแกนนำของนักเรียน (3) อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติกิจกรรมกับนักเรียนชั้น ป.1-6 และ ม. 1-3เรื่องกิจกรรมทางกาย- โชป้าฯ - โยคะ - Body-Scan - Brain-Gym (4) ทดสอบสมรรภาพทางกาย ครั้งที่ 1 (5) ปฏิบัติกิจกรรมทางกาย - โชป้าฯ - โยคะ - Body-Scan - Brain-Gymในชั้นเรียน (6) ประชุมถอดบทเรียน (7) ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 2 (8) ทดสอบสมรรถนะครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) นำไปปฏิบัติกับระดับชั้นปฐมวัยต่อไป

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์กิจกรรมทางกายของเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านหนองกุลา พบว่า เด็กนักเรียนบางส่วนยังขาดสมาธิในการเรียน และเชื่องช้า ไม่กระตือรือร้นในการเรียน มีกิจกรรมทางกายน้อย เมื่อพิจารณาจากโรงเรียน พบว่า คณะครูยังไม่ทราบแนวทางของกิจกรรมทางกายโชป้าฯ จึงมีแนวคิดจัดทำโครงการโชป้าฯออกมาเต้น ยืดเส้นก่อนเข้าเรียน โรงเรียนบ้านหนองกุลา โดยมีแนวคิดสำคัญประกอบด้วย 1. พัฒนาศักยภาพของครูให้มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องกิจกรรมทางกาย ได้แก่ 1.โชป้าฯ 2. โยคะ 3. Body-Scan 4. Brain-Gym และสามารถนำมาปฏิบัติกับเด็กนักเรียนในชั้นเรียนของตนเองได้ 2. พัฒนาศักยภาพของแกนนำเด็กนักเรียนให้มีความรู้้ ความเข้าใจ และมีทักษะกิจกรรมทางกาย ได้แก่ 1.โชป้าฯ 2. โยคะ 3. Body-Scan 4. Brain-Gym และสามารถเป็นแกนนำเต้นหน้าเสาธงได้อย่างน้อย 1 วันต่อสัปดาห์ 3. สร้างโรงเรียนต้นแบบการเพิ่มกิจกรรมทางกายในโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  2. เพิ่มเวลาการเรียนรู้แบบกระฉับกระเฉงในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงให้คณะครูทราบ
  2. ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะครูและแกนนำของนักเรียน
  3. อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติกิจกรรมกับนักเรียนชั้น ป.1-6 และ ม. 1-3เรื่องกิจกรรมทางกาย- โชป้าฯ - โยคะ - Body-Scan - Brain-Gym
  4. ทดสอบสมรรภาพทางกาย ครั้งที่ 1
  5. ปฏิบัติกิจกรรมทางกาย - โชป้าฯ - โยคะ - Body-Scan - Brain-Gymในชั้นเรียน
  6. ประชุมถอดบทเรียน
  7. ทดสอบสมรรถนะครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี) 365
วัยรุ่น (13-15 ปี) 105
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ทดสอบสมรรภาพทางกาย ครั้งที่ 1

วันที่ 5 มิถุนายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ผลการทดสอบสมรรภาพทางกาย ครั้งที่ 1

 

0 0

2. ประชุมชี้แจงให้คณะครูทราบ

วันที่ 6 มิถุนายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมชี้แจงให้คณะครูและตัวแทนนักเรียนทราบถึงขั้นตอนกิจกรรมทางกายและวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรมโครงการนี้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะครู ตัวแทนนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องกิจกรรมทางกาย โชป้าฯ โยคะ Body-Scan และฺBrain-Gym
  2. ได้ข้อมูลสถานการณ์กิจกรรมทางกายนำไปสู่การจัดการข้อมูล

 

0 0

3. ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะครูและแกนนำของนักเรียน

วันที่ 9 มิถุนายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

ครูและนักเรียนเขารับการอบรมกับวิทยากร ในเรื่อง กิจกรรมทางกาย โดยมีเนื้อหาดังนี้ 1.ความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย 2.ความรู้เรื่องโชป้าฯ โยคะ Body-scan และ Brain-Gym 3.ลงมือปฏิบติท่าทางต่างๆ ตามที่วิทยากรแสดงตัวอย่าง 4.แบ่งกลุ่มและหารือแนวทางการปฏิบัติในระดับชั้นของตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครูที่เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ และพร้อมนำไปปฏิบัติในระดับชั้นของตนเอง

 

0 0

4. อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติกิจกรรมกับนักเรียนชั้น ป.1-6 และ ม. 1-3เรื่องกิจกรรมทางกาย- โชป้าฯ - โยคะ - Body-Scan - Brain-Gym

วันที่ 10 มิถุนายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการอบรมโครงการ “กายใจ สดใส แข็งแรง” โรงเรียนบ้านหนองกุลา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต ๑ วันที่  ๑๐  มิถุนายน  พ.ศ.๒๕๖๒


๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ น. ลงทะเบียน ๐๘.๓๐-๑๐.๐๐ น. พิธีเปิดและชี้แจงโครงการ ๑๐.๐๐-๑๐.๑๕ น. พักรับประทานอาหารว่าง ๑๐.๑๕-๑๑.๓๐ น. อบรมให้ความรู้กับนักเรียนในกิจกรรมทางกายเรื่อง โชป้าฯ และโยคะ ๑๑.๓๐-๑๒.๓๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๒.๓๐-๑๓.๐๐ น. สันทนาการช่วงบ่าย  ทบทวนท่าโชป้าฯ และโยคะ ๑๓.๐๐-๑๔.๐๐ น. อบรมให้ความรู้กับนักเรียนในกิจกรรมทางกายเรื่อง Body-Scan และ                               Brain-Gym ๑๔.๐๐-๑๔.๓๐ น. พักรับประทานอาหารว่างบ่าย ๑๔.๓๐-๑๖.๐๐ น. ลงปฏิบัติกิจกรรมทางกายเรื่อง โชป้าฯ โยคะ Body-Scan และ Brain-Gym

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนได้ทราบถึวัตถุประสงค์ของโครงการ
  2. ได้ึกสมาธิและได้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง

 

0 0

5. ปฏิบัติกิจกรรมทางกาย - โชป้าฯ - โยคะ - Body-Scan - Brain-Gymในชั้นเรียน

วันที่ 11 มิถุนายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

ครูให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมทางกายในชั้นเรียนของตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีสมาธิในการเรียนมากยิ่งขึ้น และได้เตรียมสมองเพื่อเรียนหนังสือในวันนั้นๆด้วย

 

0 0

6. ประชุมถอดบทเรียน

วันที่ 14 ธันวาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

คณะครูประชุมถอดบทเรียนหลังทำกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หลังทำกิจกรรมพบว่า นักเรียนมีสติและสมาธิเพิ่มมากขึ้น และยังกล้าที่จะแสดงความคิดเห็นและมีความคิดสร้างสรรค์ นักเรียนสนุกกับการมาโรงเรียนมากยิ่งขึ้น

 

0 0

7. ทดสอบสมรรถนะครั้งที่ 2

วันที่ 16 ธันวาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

ครูที่สอนรายวิชาสุขพละศึกษา ทำการทดสอบนักเรียนในโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนได้อย่างดี ครบถ้วน เพราะมีสมาธิในการปฏิบัติมากขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

นักเรียนที่เข้าร่วมมโครงการ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยผลที่ได้ คือ นักเรียนมีสมาธิมากขึ้นและมีร่างกายที่สมบูรณ์ มีสมาธิในการเรียน และอยากจะมาโรงเรียนเพื่อทำกิจกรรมเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้การเรียนดีขึ้นและทำงานบรรลุผลสำเร็จ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
60.00 80.00 100.00

นักเรียนที่อยู่ในโครงการต้องปฏิบัติทุกคน และปฏิบัติทุกวัน

2 เพิ่มเวลาการเรียนรู้แบบกระฉับกระเฉงในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเวลาเรียนในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็กที่จัดการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active-play Active-learning)
60.00 90.00 100.00

นักเรียนที่อยู่ในโครงการต้องปฏิบัติทุกคน และปฏิบัติทุกวัน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 470 470
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) 365 365
วัยรุ่น (13-15 ปี) 105 105
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน -
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพิ่มเวลาการเรียนรู้แบบกระฉับกระเฉงในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงให้คณะครูทราบ (2) ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะครูและแกนนำของนักเรียน (3) อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติกิจกรรมกับนักเรียนชั้น ป.1-6 และ ม. 1-3เรื่องกิจกรรมทางกาย- โชป้าฯ - โยคะ - Body-Scan - Brain-Gym (4) ทดสอบสมรรภาพทางกาย ครั้งที่ 1 (5) ปฏิบัติกิจกรรมทางกาย - โชป้าฯ - โยคะ - Body-Scan - Brain-Gymในชั้นเรียน (6) ประชุมถอดบทเรียน (7) ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 2 (8) ทดสอบสมรรถนะครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) นำไปปฏิบัติกับระดับชั้นปฐมวัยต่อไป

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

1.ในช่วงแรกมีนักเรียนบางคนไม่สามารถทำท่า Brain-Gym ได้ถูกต้อง
2. นักเรียนมีสมาธิสั้น

นักเรียนติดโทรศัพท์และยัไม่มีควากระตือรือร้น

ครูใช้จิตศึกษาเข้ามาปรับใช้ ส่งผลให้นักเรียนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการกายใจ สดใส แข็งแรง โรงเรียนบ้านหนองกุลา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก

รหัสโครงการ 61-น.10 รหัสสัญญา 61-น.10 ระยะเวลาโครงการ 5 มิถุนายน 2019 - 16 ธันวาคม 2019

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การทำ Brain-Gym และ Body-Scan

รูปถ่าย

นำไปเผยแพร่กับนักเรียนและครูโรงเรียนใกล้เคียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

ได้ออกกำลังกาย คือ การทำโชป้าฯ เพื่อให้ร่างกายได้ขยับและสุขภาพแข็งแรง

รูปถ่าย

ให้นักเรียนทุกคนปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

นักเรียนได้ฝึกสมาธิและได้เรียนรู้วิธีการคิดที่แตกต่าง และรู้ตัวอยู่เสมอ ในการปฏิบัติกิจกรรมจิตศึกษา

รูปถ่าย

นำไปเผยแพร่กับโรงเรียนใกล้เคียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

นักเรียนเิดความภาคภูมิใจเมื่อปฏิบัติกิจกรรมสำเร็จ

สอบถามนักเรียน

ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการกายใจ สดใส แข็งแรง โรงเรียนบ้านหนองกุลา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัด พิษณุโลก

รหัสโครงการ 61-น.10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นาง วรรณรักษ์ หงษ์ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด